Basic Photography ถ่ายภาพเบื้องต้น

หลักสูตร  

  • หลักสูตร การถ่ายภาพเบื้องต้น Basic of Photography
  • ครูผู้สอน อาจารย์ทศพล กระแสอินทร์ จบทางด้านศิลปะโดยตรง Bachelor of Interactive Media, Sydney ออสเตรเลีย

PEPPADY
กราฟิกสคูล เปิดสอนคอร์ส Motion Graphic กราฟิกดีไซเนอร์,ช่างภาพ โดย NOOM_OK เจ้าสำนัก The Filmmaker Studio Co., Ltd. https://www.facebook.com/noomok.ok


เนื้อหาคอร์ส การถ่ายภาพเบื้องต้น Basic of Photography


หัวข้อการสอน

- เรียนรู้ Introduction to Digital camera  แนะนำ ทำความรู้จักกับ กล้อง Digital camera, Compact Digital Camera, DSLR และ Digital Mirorless   

เรียนรู้ เซ็นเซอร์รับภาพ Image sensor 

เรียนรู้ สื่อบันทึกภาพ ดิจิตอล เก็บรูปภาพ SD card, Memory Card, CF card, XD Card และ Micro SD         


หัวข้อ สำรวจกล้อง ลองใช้งาน

เรียนรู้ เลือกรูปแบบไฟล์ภาพ

เรียนรู้ เลือกความละเอียดของภาพอย่างไร

เรียนรู้ เลือกคุณภาพของภาพอย่างไร

เรียนรู้ ความสัมพันธ์ของ รูรับแสง และ ความเร็วชัตเตอร์

เรียนรู้ การวัดแสง ประเภทต่างๆ ในกล้อง

เรียนรู้ การชดเชยแสง +-EV

เรียนรู้ การตั้งค่าความไวแสง ISO Sensitivity ค่า ISO จะมีผลกับการคำนวนทุกอย่าง ทั้งการเปิดหน้ากล้องและตั้งความเร็วชัตเตอร์  

เรียนรู้วัตถุที่ไม่อยู่ในกลางภาพทำอย่างไร การวางตามหลักจุดตัด 9 ช่อง

เรียนรู้ การใช้ ระบบโฟกัสภาพ AF-S และ AF-C  กำหนดออปชั่นภายในเมนูกล้อง โหมด P, A, S, Manual

เรียนรู้ AE-Lock และ AF-Lock ใช้อย่างไร ฟ้งก์ชั่นสำหรับล็อคค่าแสง และ ระยะโฟก้ส        

เรียนรู้ โหมดการถ่ายภาพ การเลือกใช้ โหมดอัตโนมัติAF โหมดโปรแกรมP โหมดปรับรูรับแสงเองAV-Aperture value โหมดปรับความเร็วชัตเตอร์เองSV-Shutter value โหมดปรับตั้งเองManual โปรแกรมถ่ายภาพอัตโนมัติตามสถานการณ์ Scence Mode

เรียนรู้ การถ่ายภาพต่อเนื่อง CSM ใช้สำหรับถ่ายภาพต่อเนื่องกันเป็นชุด

เรียนรู้ ระบบถ่ายภาพคร่อม (Auto Bracketing) เพื่อใช้สำรองภาพเสีย หรือเอาไว้เลือกภาพ  

เรียนรู้ ทางยาวโฟกัสของเลนส์และผลต่อภาพ เป็นตัวบอกถึงองศาในการรับภาพ มีผลให้ถ่ายภาพได้มุมกว้าง หรือ แคบ ต่างกัน

เรียนรู้ ทำอย่างไรให้ได้ภาพชัดตื้น การถ่ายภาพที่ต้องการให้วัตุที่สนใจเด่นสุด หรือลอย ออกมาจากฉากหลัง

เรียนรู้ Hyper Focus เพื่อภาพชัดลึก ที่เป็นภาพที่ต้องการเก็บลายละเอียดให้ชัดเจนเท่ากันทั้งภาพ

เรียนรู้ ชนิดของ White Balance และการใช้งานที่เหมาะสม ระบบการปรับสมดุลแสงสีขาว การปรับให้กล้องสามารถบันทึกภาพ ให้มีสีสันถูกต้อง 

เรียนรู้ เปลี่ยนโทนสีของภาพ ด้วย Photo Effect ใช้ฟั่งชั่นเสริม ในการเปลี่ยน โทนสี ของภาพ

เรียนรู้ แก้ปัญหา Shutter Lag ของกล้อง คือ การเกิดการหน่วงเวลาเพื่อเตรียมความพร้อม ในการทำงานของชัตเตอร์ 

เรียนรู้ Optical Zoom VS Digital Zoom คือการซูม หรือ ดึงภาพ จากระยะไกลเข้ามา 

เรียนรู้วิธีการระบบ โหมดการถ่ายภาพเคลื่อนไหว จากกล้องถ่ายภาพนิ่ง การปรับความละเอียดของภาพ มีผลต่อความยาวของ ภาพวิดีโอที่บันทึก 

เรียนรู้ การประหยัดพลังงานของกล้อง เช่น ตั้งเวลาปิดกล้องอัตโนมัติ เมื่อไม่ได้ใช้งาน วิธีใช้จอ LCD เท่าที่จำเป็น

เรียนรู้ การยืด อายุแบตเตอรี่ เช่น หากไม่ได้ใช้กล้องเป็นเวลานานๆ ให้ถอดแบตเตอรี่ออก อย่าเก็บแบตเตอรี่ไว้ในอุณภูมิสูงๆ

เรียนรู้ วิธี การจับถือกล้องให้นิ่งมั่นคงเวลา ถ่ายภาพ เพื่อลดการสั่นไหว ของภาพในขณะใช้มือถือกล้องถ่ายภาพ


ระบบ แฟลซ มีกี่ประเภท และ การใช้ แฟลซ เป็นแหล่ง กำเนิดแสง

เรียนรู้ ค่าความสว่างเมื่อไม่ได้ใช้ แฟลซ 

เรียนรู้ การถ่ายภาพยามค่ำคืนด้วยโหมด Slow sync Flash ในกล้อง เพื่อใช้แฟลซร่วมกับ การลดความเร็วชัตเตอร์

เรียนรู้ แฟลซ ลบเงา ที่เรียกว่า Fill-in-Flash

เรียนรู้ การBounceแฟลซคือการยิงแสงแฟลซให้สะท้อนกับ วัตถุอื่น ทำให้แสงนุ่มนวลลง

เรียนรู้ การใช้แฟลซ กับภาพถ่าย มาโคร 

เรียนรู้ แฟลซ Built-in-Flash, Pop-up Flash และ Flash แยกอิสระ จากตัวกล้อง พร้อม เทคนิค การจัดวาง Flash 

เรียนรู้ ใช้แฟลซ ทำเทคนิคภาพน้ำกระเด็น ถ่ายหยดน้ำ เทคนิคหยุดการเคลื่อนไหว ของน้ำ 


หัวข้อ การจัดองค์ประกอบภาพ มุมมอง กับ การถ่ายภาพ
Composition

เรียนรู้ การใช้เส้นนำสายตา มาสร้างความลึกให้กับภาพ ช่วยสร้างมิติให้กับภาพ 

เรียนรู้ หลักการ ถ่ายภาพ เล่นกับเงาสะท้อนของกระจก หรือ วัตถุ ที่มีพื้นผิวที่มันวาว เพื่อสร้างเอ็ฟเฟ๊ค ให้ภาพ

เรียนรู้ หลักการ ถ่ายภาพน่ามอง ด้วยจุดตัด 9 ช่อง และ กฎ 3 ส่วน การวาง วัตถุที่สนใจ ลงบน จุดตัดต่างๆ ตามทษฎี ที่ไม่ใช่ จุด โฟก้สกึงกลางภาพ

เรียนรู้ หลักการถ่ายภาพPattern ซึ่งเป็น การจัดองค์ประกอบภาพให้มีลักษณะ ซ้ำๆกัน ของวัตถุที่จะถ่าย ช่วยให้ภาพ ดูน่าแปลกตาออกไป น่าสนใจ

เรียนรู้ หลักการ ถ่ายภาพ เงาดำ โครงร่างของวัตถุ Silhouette   

เรียนรู้ หลักการ ฝึกสร้าง Foreground คือฉากหน้าให้กับภาพ ก็คือองค์ประกอบที่อยู่ก่อนถึงจุดโฟกัส (สิ่งที่น่าสนใจ) เพื่อช่วยเสริมเรื่องราว ให้ดูมี มิติ มากขึ้น

เรียนรู้ หลักการ สร้างรายละเอียด ของฉากหล้ง Background โดยใช้เทคนิค ชัดลึก Depth of field  ความแตกต่างของ F.stop รูรับแสง

เรียนรู้ หลักการ มุมกด หรือ มุมเงย Low Angel & High Angel  และเทคนิค การถ่ายภาพ แบบ Tilt-Shift

เรียนรู้ หลักการถ่ายภาพ เคลื่อนที่ด้วยชัตเตอร์ต่ำ จะทำห้เห็นการเคลื่อนที่ ของวัตถุ การปรับขนาดรูรับแสงให้แคบลง เช่น F/8 ขึ้นไป การลดค่า ISO ความไวแสงให้ต่ำลง

เรียนรู้ หลักการ หยุดการเคลื่อนที่ด้วย ชัตเตอร์ความเร็วสูง High Shutter Speed  

เรียนรู้ หลักการถ่ายภาพ ระเบิดซูม ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้กับความเร็ว ชัตเตอร์ต่ำๆ ลักษณะภาพจะมีการเคลื่อนไหวออกจากตัวแบบ หลักการกดชัตเตอร์ พร้อมกับหมุนวงแหวนซูมที่เลนส์เพื่อเปลื่ยนทางยาวโฟก้ส 

เรียนรู้ หลักการ ใส่กรอบให้กับภาพถ่าย นั่นก็คือ เทคนิค การใช้องค์ประกอบภาพมาสร้างเป็นกรอบของภาพ เพื่อเพิ่มจุดเด่น และ ลดพื้นที่ว่าง ของภาพ

เรียนรู้ หลักการถ่ายภาพให้มี สีสัน สดใส โดยใช้ โหมด Photo Effect เช่น Picture Style, Vivid ปรับคอนทราสต์ ให้สูงขึ้น ช่วยให้สีอิ่มตัวขึ้น ส่วนที่เป็นเงาจะชัดเจนขึ้นด้วย

เรียนรู้ หลักการถ่ายภาพ ขาว-ดำ Black&White การเลือกช็อตถ่าย องค์ประกอบ ในภาพที่มี สีเทากลาง ค่า18% ที่แตกต่างชัดเจน พร้อม การทำ WorkShop 

เรียนรู้ หลักการถ่ายภาพ ย้อนแสง ในงาน ภาพบุคคล Portrait   

#จบคอร์ส ได้ผลงานตนเอง ไปหนึ่งชิ้น และมีโอกาศฝึกงานกับ The FilmMaker Studio Co., Ltd.

#แล้วโลกการออกแบบของคุณจะเปลี่ยนไปตลอดกาล

ในแต่ละรอบของการเรียนการสอน เน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติไปด้วยในแต่ละหัวข้อ เน้นผู้เรียนกลุ่มเล็กเพื่อให้ผู้เรียนสามารถสอบถามแบบใกล้ชิดกับอาจารย์ผู้สอน จึงมั่นใจได้ว่า ท่านจะเข้าใจหลักการถ่ายภาพ หลักการใช้งาน รวมทั้งวิธีการใช้งานกล้อง DSLR ของท่านได้อย่างครบถ้วน และไปใช้งานจริงได้อย่างถูกต้อง

ทางเรามีเอกสารประกอบการเรียนโดยเป็นการสรุปรายละเอียดในทุกเนื้อหาไว้ให้ พร้อมทั้งอุปกรณ์สำหรับทำ Workshop ในแต่ละหัวข้อ เพื่อให้เรียนสนุกไม่น่าเบื่อ และนำเสนอเนื้อหาภาคทษฎีและมีรูปภาพตัวอย่างประกอบทุกหัวข้อ ผ่านทางหน้าจอขนาดใหญ่


ตัวอย่าง รุ่นกล้อง DSLR บางส่วน

กล้อง Canon (450D, 500D, 550D, 600D, 650D, 700D, 750D, 760D, 100D, 1200D,
60D, 70D, 7D, 6D, 5D, 1D, Kiss ทุกรุ่น, PowerShot)
กล้อง Nikon (D3000-D3300, D5000-D5500, D60-D90, D7000-D7200, D500,
D600-D610, D750, D800-D810)
กล้อง Olympus (STYLUS 1, SP-100EE)
กล้อง Fujifilm (Fujiflime X-S1)
กล้อง Panasonic (Lumix ทุกรุ่น)
กล้อง PENTAX (DSLR ทุกรุ่น)
กล้อง Sony (DSLR ทุกรุ่น)

ตัวอย่าง รุ่นกล้อง Mirrorless บางส่วน
กล้อง Fujifilm (X-A1, X-A2, X-M1, X-E1, X-E2, X-T10, X-T1, X-Pro1, X-Pro2, X-30, X100T)
กล้อง Olympus (OM-D E-M1, E-M5, E-M10, PEN E-P3, E-P5, E-PL5-7, E-PM2)
กล้อง Sony (a5000, a5100, a6000, a7, Alpha NEX-7)
กล้อง Panasonic (Lumix ทุกรุ่น)
กล้อง Canon (EOS M, EOS M2, EOS M3, G11, G12, G15, G16)
กล้อง Nikon (Nikon 1 J1-J5, Nikon 1 V1-V3, Coolpix)
กล้อง PENTAX
กล้อง Canon (EOS M, EOS M2, EOS M3, G11, G12, G16)
กล้อง Nikon (Nikon 1, Coolpix)
กล้อง PENTAX

คอรสถายภาพเบองตน

  

 

 

Top